รับซื้อ-ขาย-แลกเปลี่ยน นาฬิกาอินเตอร์แบรนด์ทุกรุ่นชุมพร

Posted on Posted in ซื้อ-ขายนาฬิกา-ภาคกลาง, ซื้อ-ขายนาฬิกา-ภาคตะวันตก, ซื้อ-ขายนาฬิกา-ภาคตะวันออก, ซื้อ-ขายนาฬิกา-ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ซื้อ-ขายนาฬิกา-ภาคเหนือ, ซื้อ-ขายนาฬิกา-ภาคใต้, ซื้อ-ขายนาฬิกา-ห้างสรรพสินค้ากรุงเทพ, ซื้อ-ขายนาฬิกา77จังหวัด, รวม50เขตในกรุงเทพ, รับซื้อนาฬิกามือสอง

รับซื้อ-ขาย-แลกเปลี่ยน นาฬิกาอินเตอร์แบรนด์ทุกแบรนด์ ทุกรุ่น มือหนึ่งและมือสอง

Rolex • Patek • AP • Omega • IWC • PANERAI • FRANK MULLER • RICHARD MILLE • TAG Heuer • Vacheron Constantin • Ulysse Nardin • Tudor Tissot Piaget • Girard-Perregaux • Corum Chopard • Cartier • Breitling Breguet • Baume et Mercier • ALange & Söhne และอินเตอร์แบรนด์ให้ราคาสูง

time2hand.com


เราเข้าใจคุณ! ด้วยประสบการ์ณในการให้มูลค่านาฬิกาที่เป็นธรรม

การเลือกของที่มีคุณภาพและราคาที่เหมาะสมยังจะทำให้การครอบครองนาฬิกาเรือนนี้ของคุณเป็นที่ไม่ผิดหวังทั้งระยะสั้นและระยะยาว ดังนั้นหากคุณต้องการปรึกษาและสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับรุ่นนาฬิกาต่างๆ ของเรายินดีให้บริการอย่างเต็มรูปแบบ

รับซื้อ-ขาย แลกเปลี่ยน นาฬิกาหลายแบรนด์เช่น
Rolex • Patek • AP • Omega • IWC • PANERAI • FRANK MULLER • RICHARD MILLE • TAG Heuer • Vacheron Constantin • Ulysse Nardin • Tudor Tissot Piaget • Girard-Perregaux • Corum Chopard • Cartier • Breitling Breguet • Baume et Mercier • ALange & Söhne และอินเตอร์แบรนด์ให้ราคาสูง

ต้องการซื้อ-ขายนาฬิกาติดต่อเราทันทีได้ที่

TEL : 06-1515-1616

LINE : @time2hand


เพิ่มเพื่อน

  • ปลอดภัยกว่า
  • ให้ราคาดีกว่า
  • ใส่ใจมากกว่าด้วยการให้คำปรึกษาอย่างเต็มใจ
  • สะดวกและรวดเร็วกว่า

เราเป็นมากกว่าแค่ร้านรับซื้อนาฬิกา เรายินดีให้คำแนะนำเรื่องราคาเบื้องต้นแบบไม่มีค่าใช้จ่าย เราให้ความรู้ และดูแลลูกค้าตลอดการขาย โดยทีมงานมืออาชีพ ประสบการณ์สูง ซื่อสัตย์ โดยมีกระบวนการซื้อ-ขายที่มีมาตรฐาน

บริการรับซื้อ-ขาย แลกเปลี่ยน

Rolex • Patek • AP • Omega • IWC • PANERAI • FRANK MULLER • RICHARD MILLE • TAG Heuer • Vacheron Constantin • Ulysse Nardin • Tudor Tissot Piaget • Girard-Perregaux • Corum Chopard • Cartier • Breitling Breguet • Baume et Mercier • ALange & Söhne และอินเตอร์แบรนด์ให้ราคาสูง

ต้องการซื้อ-ขายนาฬิกาติดต่อเราทันทีได้ที่

TEL : 06-1515-1616

LINE : @time2hand

จังหวัดชุมพร

คำขวัญ: ประตูภาคใต้ ไหว้เสด็จในกรม ชมไร่กาแฟ แลหาดทรายรี ดีกล้วยเล็บมือ ขึ้นชื่อรังนก

ชุมพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้

ใน พ.ศ. 1997 รัชสมัยแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ปรากฏในกฎหมายตราสามดวงว่า เมืองชุมพรเป็นเมืองตรี อาณาจักรฝ่ายใต้ของราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ในช่วงนี้ชนชาติจาม แห่งราชอาณาจักรจามปา ถูกชาวเวียดนามรุกราน ชาวจามกลุ่มนี้อพยพเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาครั้งแรก ปรากฏว่ามี "อาสาจาม" ในแผ่นดินนี้ เพื่อการขยายอาณานิคมของกรุงศรีอยุธยา ส่วนหนึ่งต้องมารักษาด่านเมืองชุมพร ซึ่งเป็นเมืองตรี และตั้งชาวจาม เป็นเจ้าเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้ขึ้นตรงต่อกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วย ชาวจาม มีความสามารถในการรบ ที่มีชื่อเสียง เช่น กองอาสาจาม เป็นทหารชั้นดี มีวินัย เชี่ยวชาญการเดินเรือ รับใช้ราชสำนักมานาน และเก่งการค้ามาหลายพันปี

และต่อมาระหว่าง ปี พ.ศ. 2173 - 2199 ในแผ่นดิน พระเจ้าปราสาททองแห่งราชอาณาจักกรุงศรีอยุธยา ได้กวาดต้อนชาวเมืองแถง หรือ (เดียนเบียนฟู) อยู่ในประเทศเวียดนาม และชาวเมืองพงสาลี อยู่ในประเทศลาว มาเป็นพลเมือง เมืองชุมพร เมืองปะทิว(อำเภอปะทิว) เพื่อทำการเกษตรกรรม และเมืองท่าการค้าสำคัญ ตั้งแต่นั้นมา

เดิมชาวจามนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พ.ศ. 1400 นับถือศาสนาพุทธมหายาน และเมื่อค้าขายกับอาหรับก็นับถือ ศาสนาอิสลาม แต่ชาวจามที่มาอยู่เมืองชุมพร ต่อมานับถือ ศาสนาพุทธ มีวัฒนธรรม ประเพณี เหมือนกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไปกว่า 500 -600 ปี ที่ชาวจาม เข้าปกครองเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้จนแทบจะไม่เหลือวัฒนธรรมเดิมเลย เช่น ข้าวต้มใบพ้อ ที่ใช้ในงานมงคล เช่นเดียวกับชาวมุสลิม บ้านกาลอ ตำบลกาลอ อำเภอรามัญ จังหวัดยะลา ก็สูญหายไม่ได้ใช้ในงานมงคลแล้ว

ประวัติเมืองชุมพร

คำว่า ชุมพร มีผู้สันนิษฐานว่าน่าจะมาจากคำว่า “ชุมนุมพล” เนื่องจากเป็นเมืองหน้าด่าน การเดินทัพไม่ว่าจะมาจากฝ่ายเหนือหรือว่าฝ่ายใต้ ล้วนเข้ามาตั้งค่ายชุมนุมพลกันที่นี่ จึงเรียกจุดนี้ว่า “ชุมนุมพล” ต่อมาเพี้ยนเป็น ชุมพร อีกประการหนึ่ง ในการเดินทางไปทำศึกสงครามของแม่ทัพนายกองตั้งแต่สมัยโบราณมา เมื่อจะเคลื่อนพลจะต้องทำพิธีส่งทัพโดยการบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ขอให้ได้รับชัยชนะในการสู้รบ เป็นการบำรุงขวัญทหารในสถานที่ชุมนุม เพื่อรับพรเช่นนี้ ตรงกับความหมายชุมนุมพรหรือประชุมพร ซึ่งทั้งสองคำนี้อาจเป็นต้นเหตุของคำว่า “ชุมนุมพร” เช่นเดียวกัน

แต่อีกทางหนึ่งสันนิษฐานว่า น่าจะได้มาจากชื่อพันธุ์ไม้ธรรมชาติในท้องถิ่น ได้แก่ ต้นมะเดื่อชุมพร เพราะที่ตั้งของเมืองชุมพรนั้นอยู่บนฝั่งแม่น้ำท่าตะเภา มีต้นมะเดื่อชุมพรขึ้นอยู่มากมาย ต้นมะเดื่อชุมพรจึงเป็นสัญลักษณ์ส่วนหนึ่งของ ตราประจำจังหวัดชุมพร

 

สมัยกรุงสุโขทัย

เมืองชุมพรเป็นเมืองมีเจ้าเมืองปกครองมายาวนาน ในสมัยสุโขทัยนั้น เป็นเมืองขึ้นต่ออาณาจักรนครศรีธรรมราช ในฐานะเมืองอาณานิคม และเป็นเมืองหน้าด่าน ฝ่ายเหนือ หรือเมืองปีมะแม ถือตราแพะ เป็น 1 ในเมือง 12 เมือง หรือเรียกว่า เมืองสิบสองนักษัตร ของอาณาจักรนครศรีธรรมราช

สมัยกรุงศรีอยุธยา

เมืองชุมพรในสมัยกรุงศรีอยุธยานั้น เมื่อกรุงศรีอยุธยาเรืองอำนาจ ในแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ได้แผ่ขยายอาณานิคมลงทางใต้ ชาวจาม มาอยู่ที่เมืองชุมพร เนื่องด้วย ชาวจาม มีความสามารถ การค้า การเดินเรือ และการรบ จะเห็นได้จากทหาร อาสาจาม เป็นทหารชั้นดี ที่รับใช้ราชสำนักตั้งแต่กรุงศรีอยุธยา มีความสามารถการรบ และการเดินเรือ อย่างเชี่ยวชาญ ตั้งแต่นั้นจนทำให้เมืองชุมพร ต้องขึ้นต่ออาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ในฐานะเมืองอาณานิคม และเป็นเมืองหน้าด่าน ฝ่ายใต้ และเป็นเมืองท่าการค้าสำคัญ ของอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา เมืองชุมพรจึงมีบทบาทเป็นเมืองหน้าด่าน มาแต่โบราณในอาณาจักรนครศรีธรรมราช และอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ทำให้ไม่มีการก่อสร้างวัตถุถาวรได้ ดังนั้นชาวชุมพรจึงเป็นลูกหลานนักรบที่แท้จริง และควรให้สมญานามบรรพบุรุษว่า “วีรบุรุษนักรบแห่งคอคอดกระ ดินแดนสองฝั่งทะเล"จากการทำศึกสงครามอย่างต่อเนื่องในแต่ละยุคแต่ละสมัย

สมัยกรุงธนบุรี

เมืองชุมพรในสมัยกรุงธนบุรีไม่ค่อยมีบทบาทมากนักเพราะอยู่ในภาวะสงครามของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทั้งรัชกาล และสืบเนื่องจาก พระชุมพร (พวย) นำกำลังกองทัพบก กองทัพเรือ เมืองชุมพร กำลังพลประมาณ 800 คน ได้สูญเสียจากการรบในช่วงกรุงแตกที่ ค่ายบางกุ้ง จากการส่งกำลังเข้ารักษาพระนครศรีอยุธยา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2305-2308 และเข้าร่วมรบเพื่อตีเมืองนครศรีธรรมราช จึงทำให้เกิดการล้าของชาวเมืองชุมพร

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

ตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมืองชุมพรเป็นเมืองท่าค้าขายสำคัญ จนถึงในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ชาวจามยังมีบทบาทในดินแดนแทบนี้ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งเป็น มณฑลชุมพร ต่อมามีการยุบการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลเป็นจังหวัด ชุมพรจึงมีฐานะเป็นจังหวัด และเมื่อ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ สามารถเดินเรือได้เอง ชาวจามก็หมดบทบาทลงในเวลาต่อมา

 

อาณาเขตการปกครอง

เจ้าเมืองชุมพร ปกครองอาณาเขตเมืองชุมพร ซึ่งเป็นเมืองตรี มีเมืองจัตวาเป็นเมืองขึ้น 8 เมือง ดังนี้

เมืองปะทิว (อำเภอปะทิว)

เมืองท่าแซะ (อำเภอท่าแซะ) เมืองหน้าด่านเมืองชุมพร ด่านทัพต้นไทร (เนิน 491) หรือบ้านต้นไทร[3]

เมืองตะโก (อำเภอทุ่งตะโก)

เมืองหลังสวน (อำเภอหลังสวน อำเภอละแม อำเภอท่าชนะ)

เมืองตระ (อำเภอกระบุรี)

เมืองระนอง (จังหวัดระนอง)

เมืองมะลิวัลย์ (จังหวัดเกาะสอง) อยู่ในประเทศพม่า

เมืองกำเนิดนพคุณ (อำเภอบางสะพาน อำเภอทับสะแก แหล่งขุดทองคำบางสะพาน)

เจ้าเมืองชุมพร เป็นเชื้อสายจาม สืบเชื้อสายหลายพันปี ในสมัยกรุงศรีอยุธยา จนถึง สมัยกรุงธนบุรี มีบรรดาศักดิ์ นามว่า "ออกญาเคาะงะ" เป็นภาษาจาม หรือ พระชุมพร ในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เปลี่ยนบรรดาศักดิ์ นามว่า พระยาชุมพร และ พระยาเพชรกำแหงสงคราม ตามด้วยชื่อ และต่อได้ยกเลิกให้ใช้บรรดาศักดิ์เดิม

รายชื่ออดีตเจ้าเมือง

ออกญาเคาะงะ ทราธิบดีศรีสุรัตนวลุมหนัก ก่อน พ.ศ. 1997

พระชุมพร (พวย) พ.ศ.ไม่ปรากฏ- 2310 (เสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ ๒)

พระชุมพร (มั่น) พ.ศ. 2312-2312

พระยาแก้วโกรพ พ.ศ. 2336 เข้าร่วมกองเรือไปตีเมืองมะริด

พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ถิ่น) น่าจะเป็นคนเดียวกับพระยาแก้วโกรพ

พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ซุ่ย) ก่อน พ.ศ. 2367-2367

พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ยม) พ.ศ. 2368-2368

พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ครุฑ) พ.ศ. 2369-2404 ได้เลื่อนบันดาศักดิ์ เป็นเจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ) พ.ศ. 2404 ดำรงตำแหน่งเสนาบดีกรมเวียง ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 และในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5

พระยาเพชรกำแหงสงคราม (กล่อม) พ.ศ. 2404-2411 ถูกเรียกกลับกรุงเทพ ฯ เมื่อปี พ.ศ. 2411 เพื่อลงนามปันเขตแดนไทย-พม่า ให้ขึ้นบังคับกับอังกฤษ ลงนามวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2411

พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ยัง ซุ่ยยัง) บุตรพระยาเพชรกำแหงสงคราม (ซุ่ย) พ.ศ. 2411-2437

พระยารามฤทธิรงค์ (สิน) พ.ศ. 2437-2439 (รักษาราชการ)

พระยาชุมพร (มะลิ ยุกตนันท์) พ.ศ. 2439-2444

เจ้าเมืองชุมพร มักเรียก พระยาชุมพร โดยไม่เรียกบรรดาศักดิ์ใหม่ เช่น พระยาเพชรกำแหงสงคราม หรือ เลื่อนบรรดาศักดิ์สูงกว่าแต่ยังเรียก พระยาชุมพร เหมือนเดิม ต่อจากนั้นไม่ได้ใช้บรรดาศักดิ์ พระยาเพชรกำแหงสงคราม แต่ใช้ยศหรือบรรดาศักดิ์ ที่ได้รับพระราชทานมาแต่เดิม มาดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการเมืองตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2445 เป็นต้นมา